- การจัดการองค์ความรู้จากผู้วิจัยสู่ชุมชน ผลิตภัณฑ์ปลาโคราชเพื่อสุขภาพ: ปลาร้าปลาส้มมีไขมันดี เสริมวิตามิน ปลอดพยาธิและสารก่อมะเร็ง (สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ 2563)
- การพัฒนาสื่อความรู้ปรสิตที่พบในผัก (สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 2563)
- การพัฒนาสื่อด้านขั้นตอนการตรวจการปนเปื้อนของพยาธิและขั้นตอนการล้างผักสดเพื่อลดระยะติดต่อพยาธิ (สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 2563)
- การพัฒนาฐานข้อมูลสมุนไพรต้านปรสิต (สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) 2562)
- การพัฒนาแบบคัดกรองแบบวาจา ประเมินพฤติกรรม และให้ความรู้โรคพยาธิใบไม้ตับ Opisthorchis viverriniสำหรับแรงงานต่างด้าว ด้วยแอพลิเคชั่นบนมือถือ (สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 2562)
- การแก้ไขปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับด้วย เซส โมเดล (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2561)
- การศึกษาแบบเปลี่ยนผ่านวิทยาการเฝ้าระวังเชิงรุกการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับ Opisthorchis viverrini แบบครบวงจรชีวิตของพยาธิในพื้นที่รอบบึงละหานนา (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2561)
- ศึกษาเปรียบเทียบวิธีการตรวจวินิจฉัยโรคพยาธิใบไม้ตับในชุมชนรอบบึงละหานนา ด้วยวิธีทางปรสิตวิทยาแบบเข้มข้นและทางชีวโมเลกกุล (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2561)
- การศึกษาประสิทธิผลของเจล De-Scar ที่มีส่วนประกอบบัวบก อีซีเอ 233ต่อการสมานแผลถลอก (บริษัทเนเจอไอเดีย 2560)
- การพัฒนาปลาร้าและปลาส้มปลอดพยาธิใบไม้ตับ (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2560)
- การศึกษาประสิทธิผลการตรวจวินิจฉัยพยาธิใบไม้ตับด้วยวิธี Mini-Parasep SF Faecal Concentrator (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2560)
- การการตรวจวินิจฉัยเชื้อพยาธิใบไม้ตับโดยการประยุกต์ใช้ Mini-Parasep SF Concentration technique (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2559)
- การตรวจคัดกรองพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีในพื้นที่นครชัยบุรินทร์ระยะที่ ๑ จังหวัดนครราชสีมา (สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 2558)
- การพัฒนาโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ โดยการประยุกต์ทฤษฎีการรับรู้สมรรถภาพแห่งตนและแรงจูงใจ (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2555)
- ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะโภชนาการและการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับในพื้นที่นครชัยบุรินทร์ (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2557)
- การศึกษาความชุกและปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับในพื้นที่รอยต่อนครขอนชัย โดยการประยุกต์ใช้ modified Kato-Katz technique (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2556)
- การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงสำหรับป้องกันและควบคุมโรคพยาธิใบไม้ตับในจังหวัดสุรินทร์ โดยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2555)
- ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะโภชนาการและการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับของเด็กวัยเรียนในจังหวัดสุรินทร์ (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2555)
- การศึกษาภาวะโภชนาการและการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับในผู้สูงอายุจังหวัดสุรินทร์ (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2554)
- การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อวิเคราะห์หาพื้นที่เสี่ยงต่อการระบาดโรคมาลาเรียในจังหวัดบุรีรัมย์ (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2554)
- การศึกษาภาวะโภชนาการและการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับในผู้สูงอายุจังหวัดนครราชสีมา (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2553)
- การศึกษาหนอนพยาธิที่ติดต่อจากดินในเด็กตามแนวชายแดนไทยลาว (สถาบันวิจัยลุ่มน้ำโขง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550)